กฎหมายแรงงาน คุ้มครองการลากิจ-ลาป่วย ของพนักงาน แต่ทำไมเวลา ลางานจริงๆทำไมยากจัง 

        กฎหมายแรงงาน คุ้มครองการลากิจ-ลาป่วย  เชื่อว่าหลายคนที่ต้องทำงานอยู่ภายใต้การเป็นลูกน้องของคนอื่น  เวลาที่จะเดินทางไปทำธุระส่วนตัวหรือพาพ่อ แม่หรือคนในครอบครัวไปทำธุระเมื่อมีการแจ้งลางานกับทางหัวหน้างาน ถ้าเจอหัวหน้างานเป็นคนใจดีก็จะสามารถลางานได้ง่ายแต่ถ้าเกิดเจอหัวหน้างานแบบเขี้ยวก็อาจจะต้องเจอกับคำถามมากมาย 108 หรืออาจจะไม่สามารถลางานได้  

        สำหรับปัญหาพนักงานที่มักจะมีธุระส่วนตัวแล้วจำเป็นที่จะต้องขอลาหยุดในกรณีลากิจอาจจะเจอกับปัญหาคำถามจากหัวหน้าถึงเหตุผล

ในการลาเหมือนกับชายหนุ่มรายนี้ให้มีการโพสต์เล่าเรื่องราวลงใน Facebook ของตนเองหลังจากที่มีการพิมพ์ข้อความไปลากิจกับหัวหน้างานเพราะต้องพาพ่อกับแม่ไปทำธุระแต่ปรากฏว่าเจอหัวหน้างานตอบกลับมาจนทำให้เขาไม่มั่นใจว่าเขาควรจะลากิจดีหรือควรจะกลับไปทำงานดี

       สำหรับเรื่องราวของชายหนุ่มรายนี้ได้โพสต์เล่าเอาไว้เมื่อวันที่ 15 เดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2565

ซึ่งเขาระบุว่าเขามีความจำเป็นที่จะต้องพาพ่อกับแม่ของเขาไปทำธุระดังนั้นเขาจึงได้ขอลากิจโดยระบุเหตุผลกับหัวหน้างานไปตามความเป็นจริง  แต่ปรากฏว่าหัวหน้างานแนะนำให้หาคนอื่นพาพ่อกับแม่ไปแทนหรือหากเป็นไปได้ควรให้พ่อกับแม่ไปเองไม่ควรทำให้พ่อแม่กลายเป็นคนอ่อนแอทำอะไรเองไม่เป็น

       นอกจากนี้หัวหน้างานยังมีการพิมพ์กลับมาด้วยว่าจะลาเต็มวันหรือลากี่ชั่วโมงให้คิดเอาเองตามความเหมาะสมทำให้เขาไม่มั่นใจว่าข้อความที่หัวหน้ากรอบกลับมานี้จะทำให้เขาควรที่จะหยุดลาได้หรือหัวหน้าไม่อนุญาตให้เขาหยุดลางานกันแน่ 

           หลังจากที่เรื่องราวของชายหนุ่มวัยนี้ถูกเผยแพร่ลงในโลกออนไลน์หลายคนก็เข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายบางคนมองว่าหัวหน้างานนั้นไม่มีความเมตตาและไม่เข้าใจความรู้สึกของลูกน้อง นอกจากนี้ยังมีบางคนยกตัวอย่างว่าถ้าหัวหน้าต้องพาคนในครอบครัวหรือพ่อแม่ไปทำธุระหัวหน้างานยังจะคิดหรือพูดเหมือนกับที่พูดกับลูกน้องนี้หรือไม่

          อย่างไรก็ตามปัญหาการลางานนั้นมักจะมีคนมาโพสต์เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องของการลางานยากอยู่บ่อยครั้งเช่นบางคนมีการโพสต์ว่าจะลางานเพื่อไปงานศพของญาติที่เสียชีวิตหรือลางานเพื่อไปเผาศพของปู่ย่าตายายแต่ก็ถูกหัวหน้างานห้ามไม่ให้ลาเนื่องจากระบุว่าไม่ใช่พ่อแม่  ซึ่งประเด็นการลางานนี้เรามักจะเห็นคนในโลกออนไลน์ออกมาบ่นอยู่บ่อยครั้ง

      อย่างไรก็ตามสำหรับในประเทศไทยนั้นย่อมมีกฎหมายรองรับเกี่ยวกับการทำงานซึ่งเป็นกฎหมายแรงงานที่สามารถระบุว่าลูกจ้างสามารถที่จะทำการลางานได้โดยการลางานนั้นจะสามารถลาได้ทั้งลากิจและลาป่วยซึ่งแต่ละบริษัทจะมีเงื่อนไขว่าแต่ละบริษัทนั้นจะลากิจได้กี่วันหรือลาป่วยได้กี่วัน

 

สนับสนุนเนื้อหาโดย    ทางเข้า gclub มือถือ